วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา



ปรัชญา           “ร่วมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้   สู่วิถีชีวิต    ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง”

วิสัยทัศน์
“ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเฉลิมพระเกียรติ ส่งเสริมและจัดการศึกษาตลอดชีวิต  เพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ให้มีความรู้คู่คุณธรรมตาม แนวของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยมีภาคีเครือข่ายร่วมให้การสนับสนุน”

พันธกิจ
๑. ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามความต้องการอย่างต่อเนื่อง
๒. พัฒนาการเรียนรู้ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีคุณธรรมนำความรู้ และทักษะการดำรงชีวิตพื้นฐานตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๓. ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา  และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
๔. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตจากสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
๕. ส่งเสริมให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก


                             อัตลักษณ์                  อยู่อย่างพอเพียง
                             เอกลักษณ์                 สถานศึกษาพอเพียง



เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ

เป้าประสงค์
ตัวชี้วัดความสำเร็จ

   ๑. ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ต่อเนื่องและมีคุณธรรมได้มาตรฐาน
   
. ร้อยละของประชาชนกลุ่มต่างๆที่ได้รับการ
ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
    . ร้อยละของผู้เรียนและผู้รับบริการที่มีผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตรหรือกิจกรรมการเรียนรู้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อนำไปสู่ความเป็นพลเมืองดีในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
. ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของสถานศึกษา
. ค่าเฉลี่ยของผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐานการศึกษาเพิ่มขึ้น



    ๒. ประชาชนมีอาชีพที่สามารถเสริมสร้างรายได้ที่มั่นคงสอดคล้องกับตนเองชุมชนสังคมและสิ่งแวดล้อม





๑. จำนวนผู้เรียนผู้รับบริการมีอาชีพมีรายได้ที่สอดคล้อง กับตนเอง ชุมชนสังคมและสิ่งแวดล้อม
๒. ร้อยละ  ผู้เรียนมีงานทำหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
. ร้อยละของผู้เรียนที่มีอาชีพและรายได้ที่มั่นคงสอดคล้องกับตนเอง บริบทชุมชนสังคมและสิ่งแวดล้อม
. ร้อยละของผู้เรียนผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ดีขึ้นไปต่อกิจกรรมที่ให้บริการ



. ประชาชนใฝ่รู้ : สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองรักการอ่านและแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง

. จำนวนผู้รับบริการได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
๒. ร้อยละของผู้เรียน/ผู้รับบริการที่สามารถใช้Internet สืบค้นข้อมูลได้หรือร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสืบค้นข้อมูลความรู้จากห้องสมุด/แหล่งเรียนรู้ได้
. ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษา

. ประชาชนใฝ่ดี : มีคุณธรรมดำเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงวัฒนธรรมท้องถิ่นสามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง
. ร้อยละของจำนวนกิจกรรมและหลักสูตรของ
สถานศึกษาที่เน้นคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมที่ดีงามรู้จักสิทธิหน้าที่ของตนเอง
. ร้อยละของผู้เรียน/ผู้รับบริการคุณธรรมและจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
. ร้อยละของผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถปฏิบัติตัว
เป็นแบบอย่างที่ดีของครอบครัวชุมชนและสามารถแก้ไขปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
. ร้อยละของผู้เรียน/ผู้รับบริการมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และประเมินปัญหาหรือสถานการณ์ที่อยู่รอบตัวที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตได้


. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาตลอดชีวิต
. ร้อยละของภาคีเครือข่ายที่เพิ่มขึ้นในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต
. ร้อยละของชุมชนที่มีแหล่งการเรียนรู้ที่พร้อมในการจัดและสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต
. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสถานศึกษา
. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาการจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
. สถานศึกษามีการพัฒนา "ฐานความรู้" ขององค์กร
. ร้อยละของชุมชนที่มีการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้อันเป็นผลเนื่องมาจากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๗. จัดการศึกษาที่สนองงานโครงการตามพระราชดำริในพื้นที่อย่างครอบคลุมและทั่วถึง
๑. ประชาชนร้อยละ ๘๐ ในพื้นที่หมู่บ้านดำเนินงานโครงการพระราชดำริได้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้น
๒. ร้อย๘๐ ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย.โครงการพัฒนา  เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารมีสุขภาพอนามัยอยู่เกณฑ์มาตรฐาน



กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่      การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ
กลยุทธ์ที่      ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้ประชาชนในการสร้างงานสร้างรายได้
กลยุทธ์ที่      พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
กลยุทธ์ที่      พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมใน 
                   การจัดกระบวนการเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ ๕    พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย
กลยุทธ์ที่ ๖    พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสถานศึกษา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น